แถมสุข นุ่มนนท์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2566
อ่านประวัติศาสตร์ระหว่างบรรทัดกับเรื่องราวของ 'นายบุญเอก ตันสถิตย์' อีกหนึ่งสมาชิกสายพลเรือนที่เข้าร่วม "คณะ ร.ศ. 130" ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ห้วงวันวานคุณูปการของสมาชิกทุกคนในคณะ ร.ศ. 130 กลับประทับชัดเจนในความทรงจำของนายปรีดีในฐานะ "พวกพี่ๆ" เสมอมา
โมฆสงครามในทัศนะของปรีดี พนมยงค์ และข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุการณ์วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to แถมสุข นุ่มนนท์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่