ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แผนการเศรษฐกิจ

แนวคิด-ปรัชญา
8
เมษายน
2564
ในปัจจุบันสมัยนี้ ไม่ว่าในงานเอกชนหรืองานมหาชน หากรัฐจะประกอบกิจการอันใด ไม่ว่าเรื่องการศึกษา การป้องกันประเทศ รักษาทรัพยากรของชาติ การผังเมือง การผังชนบท การวางเส้นทางคมนาคม ถนนหนทาง การบุกเบิกป่าไม้งานต่างๆ ที่กรมกองต้องกระทำ รัฐผู้กระทำต้องวางแผน วางจุดหมายที่มุ่งให้บรรลุถึงวิธีการและเครื่องมือเครื่องใช้ดำเนินการเป็นขั้นๆ 
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2564
ความสำคัญของการพิจารณางบประมาณประจำปีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยก็คือ การเปิดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหลายสามารถปรึกษาโดยทั่วๆ ไป โดยอาจตั้งคำถามถึงความจำเป็นและที่มาของการใช้จ่าย รวมถึงการตัดลดรายจ่ายในงบประมาณแผ่นดินนั้นๆ ซึ่งสิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในการจัดทำงบประมาณประจำปีในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก  สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง 
บทบาท-ผลงาน
22
มิถุนายน
2563
ในบทความนี้จะพาทุกท่านมาสู่เนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ โดยจะเริ่มจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี พ.ศ. 2472-2475 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในการเขียนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2563
ในระหว่างที่นายปรีดี พนมยงค์ พักอยู่ในฝรั่งเศส มิตรเก่าของท่านคนหนึ่ง คือ ลอร์ดหลุยส์ เมาท์แบ็ตแต้น เอิร์ลออฟเบอร์ม่า อดีตแม่ทัพใหญ่ภาคเอเซียอาคเณย์ของสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่สอง และอดีตอุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย ได้เชิญนายปรีดีพร้อมด้วยท่านผู้หญิงพูนศุข ให้ไปเยือนประเทศอังกฤษ
Subscribe to แผนการเศรษฐกิจ