ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

โควิด-19

แนวคิด-ปรัชญา
18
ตุลาคม
2565
“การบริจาค” ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่คู่กับสังคมไทย เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การบริจาคและการทำการกุศลนั้นเป็นเรื่องที่ดีและเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมดีขึ้น และสร้างความเป็นภราดรภาพ (ให้รู้สึกเหมือนเป็นพี่น้องร่วมชาติกัน) ให้เกิดขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกัน มายาคติที่ว่านี้ส่วนหนึ่งนั้นอาจมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องบาป-บุญ
แนวคิด-ปรัชญา
9
มีนาคม
2565
สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจและในบทความนี้ที่ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'ได้หยิบยกมา คือ สังคมปัจจุบันนี้ไม่ได้ก้าวพ้นในสิ่งที่อาจารย์ป๋วยได้เคยพูดเสมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ และในแง่นี้คำพูดของอาจารย์ป๋วยจึงยังคงอยู่กับสังคมมากกว่าปณิธานของอาจารย์ที่ได้แสดงไว้
แนวคิด-ปรัชญา
14
ธันวาคม
2564
“รัฐสวัสดิการ” หรือ “สวัสดิการสังคม” นั้น เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเป็นจำนวนมาก และเป็นโจทย์สำคัญของประเทศไทยท่ามกลางการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ได้สะท้อนปัญหาการเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ทั้งการเข้าถึงสวัสดิการในการรักษาพยาบาล การว่างงาน เบี้ยยังชีพของคนชรา และการศึกษา และทำให้เกิดการตั้งคำถามถึง ระบบสวัสดิการของประเทศไทยนั้นมีอยู่อย่างไร และรัฐได้รับรองสิทธิในสวัสดิการไทยเอาไว้อย่างไร
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤศจิกายน
2564
ในช่วงเกือบเดือนที่ผ่านมาหนึ่งในเรื่องที่เป็นกระแสมาก คือการที่นักแสดงฮอลลีวูดชื่อดังอย่าง รัสเซล โครว์ เดินทางไปทั่วกรุงเทพฯ และได้มีโอกาสถ่ายภาพบรรยากาศและการใช้ชีวิตของผู้คนในประเทศไทยผสมกันไประหว่างย่านการท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม ร้านอาหาร และภาพสะท้อนของเมืองที่กำลังพัฒนา
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มกราคม
2564
หลักภราดรภาพ คือ วิธีการและทางออกของปัญหาที่จะช่วยเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ในครั้งนี้ จากหลักคิดนี้เอง เขาเสนอว่า รัฐบาลควรที่จะปรับเปลี่ยนนโยบายที่ใช้อยู่ โดยมองถึงนโยบายระยะสั้น และระยะยาว
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2563
บทความล่าสุดของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชิ้นนี้ เสนอแนวทางของการสืบสาน รักษา และต่อยอดอุดมการณ์ซึ่งปรีดีได้เคยคิดเอาไว้ในเค้าโครงการเศรษฐกิจ อันเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายที่ยังคงมีประโยชน์ มีความสำคัญ และควรระลึกถึงไว้ในโลกอนาคตที่ความท้าทายใหม่ ๆ เกิดขึ้นเรื่อย ๆ
Subscribe to โควิด-19