ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' เล่าถึง เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' ตั้งแต่ที่ตนเองอายุเพิ่งจะ 10 กว่าขวบ จนเมื่อผ่านกาลเวลาและได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการนักหนังสือพิมพ์ สุภาในฐานะของลูกศิษย์ ยกย่องกุหลาบด้วยความเคารพและเชิดชู ในฐานะของ "ครู" ผู้สอนสั่งความเป็นนักหนังสือพิมพ์
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2565
บทความของศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน เสนอมุมมองคลองกระกับปัญหาความมั่นคง โดยเปรียบเทียบประวัติศาสตร์การขุดคลองสำคัญ 3 แห่งในมิติความมั่นคงระหว่างประเทศ คือ คลองสุเอซ คลองคีล และ คลองปานามา
แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' ได้เขียนบันทึกถึงท่าทีของประเทศมหาอำนาจสัมพันธมิตรอันเนื่องมาจากการกระทำของรัฐบาลไทย ภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
Subscribe to กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์