ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2567
ความรักในสังคมสามารถจำแนกได้ทั้ง 5 รูปแบบที่มีความแตกต่างกันออกไป ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงถึงความมั่นคงในเศรษฐกิจของชาติ สวัสดิการสังคมที่กระจายสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2565
ท่ามกลางปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ ที่รายล้อมชีวิตของแรงงาน อัตราดังกล่าวเพียงพอต่อการดำรงชีวิตหรือไม่ ซึ่งผู้เขียนชวนสำรวจบทวิเคราะห์การเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ โดยได้เสนอทิศทางการกำหนดอัตราค่าจ้าง อันมีตัวแปรสำคัญ คือ "คุณภาพชีวิต" ที่มีมาตรฐานของแรงงานอยู่ในสมการนี้ด้วย เพื่อให้อัตราค่าแรงเป็นส่วนที่ช่วยในการยกระดับความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดีมากยิ่งขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2565
ความเหลื่อมล้ำกับมิติทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นผลมาจากมายาคติที่มีต่อเพศหญิงในอดีตจนนำไปสู่การแบ่งแยกงานในระบบทุนนิยม ถึงแม้...ในโลกยุคปี 2020 จะมีความก้าวหน้าในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ถึงแม้...ผู้หญิงจะมีบทบาททางเศรษฐกิจและเป็นหนึ่งในฟันเฟืองที่สำคัญของวิถีการผลิตมากขึ้น แต่ขนบความเชื่อเดิมในเรื่องของความเหลื่อมล้ำยังคงถูกผลิตซ้ำรุ่นต่อรุ่นอยู่ร่ำไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
มีนาคม
2565
สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจและในบทความนี้ที่ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'ได้หยิบยกมา คือ สังคมปัจจุบันนี้ไม่ได้ก้าวพ้นในสิ่งที่อาจารย์ป๋วยได้เคยพูดเสมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ และในแง่นี้คำพูดของอาจารย์ป๋วยจึงยังคงอยู่กับสังคมมากกว่าปณิธานของอาจารย์ที่ได้แสดงไว้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2564
เมื่อคณะราษฎรเข้ามาบริหารประเทศก็ได้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำคัญตามหลัก 6 ประการ ที่ได้ประกาศไว้ ทำให้เศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ก็เกิดชนชั้นกลางในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนนี้ก็คือเศรษฐกิจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร