ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คาร์ล มาร์กซ์

แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2567
เรอเน กียอง และเซอร์ โรเบอร์ต ฮอลแลนด์ เสนอเรื่องบันทึกคอมมิวนิสม์คืออะไร ไว้ประกอบในรายงานกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่ โดยอธิบายทฤษฎีและแนวคิดไว้ 10 ข้อ เพื่อชี้ให้เห็นว่านายปรีดี พนมยงค์ ไม่เข้าหลักการของการเป็นคอมมิวนิสม์
บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2566
เถ้าถ่านแห่งสงครามที่ยังไม่ทันมอดดับหลังจากความปราชัยของฝรั่งเศส และแล้วไฟสงครามก็ลุกโชนอีกครั้งในแผ่นดิน หลังจากสหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีเวียดนามเพื่อสกัดกั้นการเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงครามระลอกดังกล่าวอุบัติขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของโฮจิมินห์
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2566
ย้อนเส้นทางชีวิตของ จิตร ภูมิศักดิ์ โดยสังเขป พร้อมเรื่องราวความเชื่อมโยงระหว่างจิตร กับ นายปรีดี พนมยงค์ และ นายดิเรก ชัยนาม ด้วยเกร็ดเล็กๆ ทางประวัติศาสตร์ในกรณีนายดิเรกให้สัมภาษณ์ต่อสื่อถึงนายปรีดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงฝีไม้ลายมือของจิตรในฐานะนักหนังสือพิมพ์
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2566
ความเป็นมาของวันแรงงานสากล กับความพยายามในการขับเคลื่อนเพื่อลดชั่วโมงการทำงานของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก พร้อมคำถามและข้อฉงนระหว่างทางแห่งประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหวว่า เป้าหมายคืออะไร การบรรลุเป้าหมายมีเพียงใด ผ่านวิธีการเช่นไร ระหว่างวิถีอันสันติกับความรุนแรง และให้บทเรียนอะไรบ้าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กุมภาพันธ์
2566
ชีวิตและการเคลื่อนไหวทางการเมืองของรัฐบุรุษแห่งแผ่นดินเวียดนาม 'โฮจิมินห์' ณ ประเทศฝรั่งเศส รวมไปถึงอิทธิพลทางความคิดจากการอภิวัฒน์ทางชนชั้นในรัสเซีย เมื่อ ค.ศ. 1917 ซึ่งได้สร้างสำนึกร่วมของผู้ถูกกดขี่ที่หิวโหยอิสรภาพและเสรีภาพในดินแดนอื่นๆ
Subscribe to คาร์ล มาร์กซ์