ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ฆาตกรรมทางการเมือง

แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2566
19 ปี การบังคับสูญหาย สมชาย นีละไพจิตร กับการเดินทางของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงในระบบยุติธรรมและสังคมที่รอวันมาถึง
บทสัมภาษณ์
13
สิงหาคม
2565
68 ปีกับเหตุการณ์ฆาตกรรมทางการเมืองที่เกิดขึ้นกับ ‘หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ โต๊ะมีนา’ ผู้นำทางจิตวิญญาณแห่งปัตตานี สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้รับเกียรติจาก คุณเด่น โต๊ะมีนา นักการเมืองชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และผู้ซึ่งเป็นบุตรชายของหะยีสุหลง
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2565
วันนี้ครบรอบ 18 ปีเต็ม ที่การถูกบังคับให้สูญหายยังไม่ได้ถูกรับการแก้ไขหรือเกิดความรับผิดชอบใดๆ ก็ตามจากรัฐไทย จนถึงวันนี้ 18 ปี แต่กลับมีจำนวนบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังไม่มีทีท่าว่าจะเกิดเป็นรายสุดท้าย หรือ ได้พบ "ร่าง" ของบุคคลเหล่านั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2564
เหตุการณ์สังหาร ‘4 รัฐมนตรี’ ซึ่งทั้งหมดมีความใกล้ชิดกับปรีดี พนมยงค์ นับเป็นการฆาตกรรมทางการเมืองที่อื้อฉาวที่สุดครั้งหนึ่ง และเป็นครั้งแรกๆ ที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดของสังคมไทยในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
สิงหาคม
2564
ความตายของ ‘สี่อดีตรัฐมนตรี’ คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายจำลอง ดาวเรือง นายถวิล อุดล และ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2492 บริเวณกิโลเมตรที่ 14-15 ถนนพหลโยธิน
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 สิ้นสุดลง ได้เกิดการเริ่มต้นของปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมคณะผู้ก่อการฯ ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ ซึ่งได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
Subscribe to ฆาตกรรมทางการเมือง