มรดกคณะราษฎร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560) มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์”
“เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ”
“ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2564
อนุสาวรีย์คอนกรีตสูงประมาณ 4 เมตร ที่ตั้งอยู่บริเวณวงเวียนหลักสี่ หายไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2561
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2564
ถึงแม้วันนี้ “หมุดคณะราษฎร 2475” และ “หมุดคณะราษฎร 2563” ได้ถูกทำให้สาบสูญไปแล้วก็ตาม แต่นั่นก็หาใช่ว่าจะสามารถพังทลายอุดมการณ์ของผู้ที่มีใจรักประชาธิปไตยลงไปได้ เพราะหมุดหมายเป็นเพียงสัญลักษณ์ เป็นเพียงวัตถุที่ใครก็ตามสามารถทำให้เคลื่อนที่ได้ตามแต่ใจปรารถนา ถ้าหมุดหมายที่หายไปจะหมายถึงอุดมการณ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2564
กว่าจะเป็น #วัดพระศรีมหาธาตุ ในปัจจุบัน วัดนี้เคยใช้ชื่อว่า #วัดประชาธิปไตย มาก่อน เพราะเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปราบ #กบฏบวรเดช (พ.ศ. 2476) ในบริเวณนั้น และยังเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนา ให้เป็นที่รวมคณะสงฆ์ "มหานิกาย” และ “ธรรมยุติกนิกาย” เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to มรดกคณะราษฎร
20
มิถุนายน
2563
เป็นที่น่าเสียดายว่ากระแสประชาธิปไตยและปรีดีศึกษาที่ดูเหมือนกำลังไปได้ดีกลับถูกเหนี่ยวรั้งให้ชะลอตัวลงจากรัฐประหาร ๑๙ ก.ย.๒๕๔๙ รัฐบาลพลเรือนผ่านการเลือกตั้งต้องพ้นวงจรอำนาจไปอีกครั้ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ถูกฉีกทิ้ง พร้อมกับระบอบขุนทหารฝ่ายอนุรักษ์นิยมกลับขึ้นมามีอำนาจ บุคคลจำนวนไม่น้อยที่เคยร่วมฉลองและมีส่วนในการฟื้นภาพลักษณ์นายปรีดี พนมยงค์ เริ่มเผยทัศนคติย้อนแย้งต่ออุดมการณ์ประชาธิปไตยด้วยการหันไปสนับสนุนเผด็จการทหาร