ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ระบอบเผด็จการ

แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
บทสัมภาษณ์
16
กันยายน
2564
"ทุกครั้งที่เกิดการรัฐประหาร มักจะตามมาด้วยระบอบเผด็จการและอำนาจอันมิชอบธรรมเสมอ..."
แนวคิด-ปรัชญา
28
เมษายน
2564
เวลาที่เราบอกถึงกระแสความเข้าใจ ความต้องการของรัฐสวัสดิการ มันจึงมีความเกี่ยวพันกับการนิยาม “ความเป็นคน” สิ่งหนึ่งที่ผมอยากย้ำ ในเวลาที่เราคุยกันเรื่องสวัสดิการ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มันคือเรื่องการเมือง มันคือการต่อสู้ มันคือการยืนยันว่าคนเท่ากัน”
บทบาท-ผลงาน
19
กันยายน
2563
เราต้องยอมรับความจริงว่า ฝ่ายเผด็จการซึ่งแม้เป็นบุคคลจํานวนส่วนข้างน้อยของสังคม แต่พวกเขาก็มีพลังทางเศรษฐกิจ การเมือง และอิทธิพลทางทรรศนะเผด็จการอยู่มาก ดังนั้น ... ฝ่ายต่อต้านเผด็จการ... ขอให้คํานึงคติ 'กําหนดตัวศัตรูให้น้อย หาเพื่อนให้ได้มาก'
Subscribe to ระบอบเผด็จการ