ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 19 กันยายน 2549

แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2566
วิธีต่อสู้เผด็จการของนายปรีดี พนมยงค์ รูปแบบของเผด็จการแบบประชาธิปไตยและการเข้าสู่การเมืองในระบบรัฐสภาหลัง พ.ศ. 2557 ว่ามีคำนิยาม ทฤษฎี และคำอธิบายระบอบเผด็จการร่วมสมัยอย่างไร และปัจจุบันประเทศไทยมีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยเป็นไปในทิศทางไหนในมุมมองระหว่างประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2564
19 กันยายน 2564 ครบรอบ 15 ปี รัฐประหาร โดย คปค 19 กันยายน 2549
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2564
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แล้ว ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระยะเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นนั้นยังมีความอ่อนแออยู่มาก
บทบาท-ผลงาน
19
พฤษภาคม
2564
บุคคลสำคัญหนึ่งๆ มักถูกอ้างอิงในที่สาธารณะอยู่เสมอ ความหมายต่อบุคคลก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่มากกว่านั้นคือการให้ความหมายก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่ยกเว้นแม้กระทั่ง ‘ปรีดี พนมยงค์’ ผู้อภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ซึ่งได้รับการยอมรับ และเชิดชูอย่างสูง ในหมู่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการเมืองไทยร่วมสมัย
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
Subscribe to รัฐประหาร 19 กันยายน 2549