ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ลัทธิมาร์กซ์-เลนิน

บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2566
สถานการณ์ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นช่วงเวลาที่อิทธิพลของฝ่ายอักษะเริ่มเพลี่ยงพล้ำต่อฝ่ายสัมพันธมิตร การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิกรุยทางนำไปสู่การอภิวัฒน์และการประกาศเอกราชของเวียดนามในที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ
Subscribe to ลัทธิมาร์กซ์-เลนิน