วัชรชัย ชัยสิทธิเวช
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2567
นอกจากวิธีการตรวจสอบพยานหลักฐานแวดล้อมที่มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อยแล้ว บันทึกคำให้การประกอบสำนวนคดีของโจทก์ พยาน และจำเลย ก็มีความเป็นไปได้และความสมเหตุสมผลไม่เพียงพอเอาผิดต่อจำเลยเช่นเดียวกัน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ตั้งข้อสังเกตเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to วัชรชัย ชัยสิทธิเวช
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต