ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศาลปกครอง

แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2566
ชวนผู้อ่านศึกษาถึงส่วนขยายของการกระทำที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะรายๆ ไปของผู้มีอำนาจบริหาร อำนาจธุรการ หรือเจ้าพนักงานปกครอง ซึ่งไม่ได้เป็นข้อบังคับที่ใช้โดยทั่วไป แต่พิจารณาเป็นเรื่องๆ
แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤศจิกายน
2565
"จาก “ควบรวม” ถึง “ผูกขาด” ประเมินความเสี่ยงที่สังคมไทยต้องแบกรับ" โดยชวนให้พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม คือ การผนวกรวมของสองกลุ่มทุนใหญ่เข้าด้วยกัน โดยผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางธุรกิจก่อนเกิดกรณีดังกล่าว ที่ฉายภาพการแข่งขันเสรีอย่างขับเคี่ยวโดยกลุ่มทุนต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550) ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย  
บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
บทบาท-ผลงาน
19
พฤศจิกายน
2563
ท่านปรีดีเห็นถึงความจําเป็นที่ต้องมีศาลปกครองแยกจากศาลยุติธรรมด้วย ดังปรากฏในข้อความเบื้องต้นของคําอธิบายกฎหมายปกครอง
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
Subscribe to ศาลปกครอง