ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2568
บทสุดท้ายของบันทึกและบทขยายความของป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับปฏิบัติการสำคัญในขบวนการเสรีไทย อาทิ เป็นผู้ติดต่อกับขบวนการเสรีไทยในประเทศกับอังกฤษ การทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ และภารกิจทางการเมืองภายหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 3 วัน คณะราษฎรก็นำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม” ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
Subscribe to อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย