อภิวัฒน์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 5 ชี้ให้เห็นว่ามีการบิดเบือนเรื่องสำคัญคือ ได้ล้มเลิกโครงการเศรษฐกิจพลิกแผ่นดินของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม และได้ปรับปรุงรัฐธรรมนูญ และเลิกคําว่ากรรมการราษฎร (แทนเสนาบดี) มาเป็น “รัฐมนตรี” ซึ่งจากข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ไม่เป็นความจริงทั้ง 2 ประการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
เมษายน
2567
บทความนี้อธิบายความหมายของศัพท์ไทย "ปฏิวัติ" "อภิวัฒน์" และ "วิวัฒน์" ตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ โดยเสนอให้ใช้ "อภิวัฒน์" แทน "Revolution" และ "วิวัฒน์" แทน "Evolution" พร้อมยกแนวคิดเลนินเรื่องวิธีสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งไม่ควรเป็นแนวทางตายตัว
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ อธิบายความหมายของ "เรฟโวลูชัน" ตามแนวคิดของมาร์กซ์-เลนิน โดยอ้างอิงจากหนังสือ "ปัญหาเลนิน" ของสตาลิน ซึ่งระบุว่าหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ก้าวหน้าและปลดปล่อยมนุษยชาติ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2567
หลังจากที่มีการจัดตั้งราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสภา ในปัจจุบัน) และเปลี่ยนจากปทานุกรมเป็นพจนานุกรม จึงได้มีการนิยามคำว่า “ปฏิวัติ“ ซึ่งมีความหมายว่า การหมุนกลับ การผันแปรตามหลักมูล
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2567
คำว่า “ปฏิวัติ”, “รัฐประหาร“, “วิวัฒน์“ และ”อภิวัฒน์” ในทางวิทยาศาสตร์สังคม มีฐานจากของศัพท์คำว่า “Revolution“ (เรฟโวลูชัน) ซึ่งหมายคำว่า การเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to อภิวัฒน์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)