ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกษตรกรรม

แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2567
บนหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ มากมายในช่วงเวลานั้นเต็มไปด้วยข่าวสารการเมืองที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมือง การแย่งชิงอำนาจ และการช่วงชิงพื้นที่สื่อของบรรดานักการเมือง ทั้งนี้การเมืองในรูปแบบดังกล่าวไม่ใช่การเมืองที่สร้างสรรค์ต่อประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2567
ในตอนนี้กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้กล่าวถึงการลาออกจากตำแหน่งผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของนายปรีดีที่ส่งผลต่อเหล่าเกษตรกรที่เป็นฐานเสียงของกลุ่มและความสำคัญของนายปรีดีที่มีความสนใจในด้านการเกษตรอย่างมา
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบและความหมายตามนาฏกรรมของรัฐในแต่ละยุค บางช่วงเน้นประชาชน บางช่วงใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง สะท้อนการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความสำคัญของพระราชพิธีในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2567
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
บทบาท-ผลงาน
22
มิถุนายน
2563
ในบทความนี้จะพาทุกท่านมาสู่เนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ โดยจะเริ่มจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี พ.ศ. 2472-2475 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในการเขียนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี
Subscribe to เกษตรกรรม