ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กฎหมายมหาชน

แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550) ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย  
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
2
มีนาคม
2563
ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชน ประชุมกฎหมายนี้เป็นหนังสือรวมงานกฎหมายของปรีดี และข้อเขียนอื่นๆ ทางกฎหมายซึ่งเกี่ยวข้องกับปรีดี ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2526 จำนวนหน้า : 683 หน้า ISBN : - สารบัญ
Subscribe to กฎหมายมหาชน