ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การกระจายอำนาจ

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2567
โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2565
"ยุทธการปลดล็อคท้องถิ่น" แก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มอำนาจในการจัดทำบริการสาธารณะเป็นการทั่วไป และแก้ไขเพื่อเร่งรัดการถ่ายโอนภารกิจ อีกทั้งทลายข้อจำกัดที่เกิดจากปัญหาด้านการเงิน ด้วยกลยุทธ์ในการบริหารงบประมาณ รวมไปถึงการปรับมุมมองของหน่วยงานรัฐส่วนกลางที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2565
“การกระจายอำนาจ” เป็นพื้นฐานของการปกครองสมัยใหม่ ซึ่งต้องการกระจายบทบาทของการจัดทำบริการสาธารณะจากรัฐส่วนกลางไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
24
มีนาคม
2564
    เวลา 09.00 - 17.30 น.ของวันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2564 เรียกว่าเช้าจรดเย็นเลยทีเดียว ณ ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ หรือที่คนเรียกขานติดปากว่า “TCDC” ภายในตึกอาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก ได้มีการจัดกิจกรรม ‘PRIDI TALKS #9 X CONLAB รัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ WORKSHOP ร่วมคิด ร่วมร่างอนาคตรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน’
แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2564
ถอดบทเรียนรัฐสภาผ่านงาน PRIDI x CONLAB : เขมภัทร ทฤษฎิคุณ
บทบาท-ผลงาน
4
กันยายน
2563
ปรีดี พนมยงค์ มีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งในการวางแนวคิดที่เป็นโครงสร้างหลักของรัฐไทยสมัยใหม่ ได้มีการจัดระเบียบบริหารราชการของไทย จัดแบ่งกลไกของรัฐออกเป็นส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค-ส่วนท้องถิ่น
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
Subscribe to การกระจายอำนาจ