ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤษภาคม
2563
“ถ้าไม่มีนายปรีดี พนมยงค์ ประเทศไทยจะไม่มีประชาธิปไตย ถ้าไม่มีนายปรีดี พนมยงค์ ประเทศไทยก็จะเป็นเมืองขึ้น” คำกล่าวในเชิงสดุดีจากปากของนายสุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ ส. ศิวรักษ์ ปัญญาชนสยามอันดับแถวหน้าสุดของประเทศเช่นนี้ สำหรับผู้ที่ติดตามประวัติศาสตร์การเมืองยุคใกล้ของไทยด้วยความเที่ยงธรรมมาโดยตลอด ก็ไม่มีอะไรเป็นที่สงสัยเลยแม้แต่น้อย แต่สำหรับบางคนที่ม่านแห่งอคติบดบังจนดวงตาและดวงใจมืดสนิท คำกล่าวของ ส. ศิวรักษ์ ข้างต้น ก็มีแต่ก่อความขึ้งเคียดถึงขนาดตีอกชกหัวเลยทีเดียว
บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
ศิลปะ-วัฒนธรรม
2
เมษายน
2563
ข้อมูลจากบทความ “คณะสุภาพบุรุษกับวรรณกรรมราษฎร” โดย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”   “วรรณกรรมแนวทดลอง” คือรูปแบบการเขียนงานวรรณกรรมประเภทเรื่องแต่ง ที่ใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากรูปแบบของเรื่องเล่ามาตรฐานทั่วไป ที่เล่าเรื่องแบบตรงไปตรงมาเหมือนนิยายหรือนิทานที่เราคุ้นเคย มีตัวละคร มีฉาก มีเนื้อเรื่องเป็นเส้นตรงและอาจจะมีการหักมุมตอนท้ายบ้าง
บทสัมภาษณ์
30
มีนาคม
2563
กษิดิศ อนันทนาธร เรื่อง   ผมได้ทราบจากอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ มาเป็นระยะเวลานานพอสมควรว่า ดร.จริย์วัฒน์ สันตะบุตร คือบุคคลซึ่งอาจารย์ปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ รักเหมือนลูกคนสุดท้อง  เขาเป็นคนมีอารมณ์ขัน และเป็นคนหนึ่งที่กล้าแหย่ให้อาจารย์ปรีดีหัวเราะอย่างมีความสุขได้
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475