การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2563
จากอุทาหรณ์ในประวัติศาสตร์ นายปรีดีเห็นได้ว่า ในยุโรปนั้นระบบประชาธิปไตยโดยวิธีสันติเป็นไปได้โดยเงื่อนไข 2 ประการ คือ...
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
ตุลาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ฟื้นความหลังถึงแบบเรียนภาษาไทยจากหนังสือ มูลบทบรรพกิจ ที่พระยาศรีสุนทรโวหารจัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
บทความ • บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2563
การที่ปรีดีหวนรำลึกถึง ก.ศ.ร. กุหลาบ และเทียนวรรณ โดยเอ่ยขานผ่านข้อเขียนของตน ก็เพื่อจงใจเน้นย้ำให้คนรุ่นใหม่หันมาเล็งเห็นบทบาทของคนธรรมดาสามัญ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
ตุลาคม
2563
ชวนหาคำตอบจากบทความของ วิเชียร เพ่งพิศ ที่สำรวจความคิดและทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องระบบรัฐสภาของไทย และการได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
กันยายน
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ได้ประมวลแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดีไว้แล้ว ในบทความนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2563
'ทองปราย พันแสง' กล่าวถึงรอยด่างทางประวัติศาสตร์ กับอุปทานคติการเมือง หลังการอสัญกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2526
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน
ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก
สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง