ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

บทบาท-ผลงาน
5
กันยายน
2563
บันทึกความทรงจำของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต ผู้เป็นหลานชายของนายปรีดี พนมยงค์ กล่าวถึงชีวิตธรรมดาของนายปรีดีในความทรงจำวัยเด็ก และประเมินความล้มเหลวผิดพลาดของนายปรีดีไว้ได้อย่างน่าสนใจ
บทบาท-ผลงาน
4
กันยายน
2563
ปรีดี พนมยงค์ มีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งในการวางแนวคิดที่เป็นโครงสร้างหลักของรัฐไทยสมัยใหม่ ได้มีการจัดระเบียบบริหารราชการของไทย จัดแบ่งกลไกของรัฐออกเป็นส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค-ส่วนท้องถิ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2563
"ทหารชั่วคราว" อย่างนายป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนเล่าเรื่องความทรงจำเมื่อครั้งเป็นเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ 'ท่านชิ้น' ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ได้อย่างน่าสนใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
สิงหาคม
2563
ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน เสรีไทยสายอังกฤษคนสำคัญ กล่าวถึงหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
สิงหาคม
2563
อ่านเรื่องราวชีวิตของขุนพลภูพาน 'เตียง ศิริขันธ์' ได้จากข้อเขียนจาก 'นิวาศน์ ศิริขันธ์' ภรรยาของเขา ในบทความนี้
17
สิงหาคม
2563
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ บรรยายบทเรียนจากขบวนการเสรีไทยว่าด้วย วิกฤตเศรษฐกิจและการอภิวัฒน์สู่สันติ ในวาระ 75 ปีวันสันติภาพไทย แนะแนวทางออกจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและความเสี่ยงของความรุนแรงและการรัฐประหารครั้งใหม่ ชี้การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสันติธรรมเป็นสงครามยืดเยื้อ อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิต  
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2563
ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องเป็น "บิดาและองค์ปฐมาจารย์ของนักนิติศาสตร์แห่งประเทศไทย" จึงขอร่วมรำลึกถึงเสด็จในกรมพระองค์นั้น ผ่านบทความ "การยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต: จากกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถึงนายปรีดี พนมยงค์"
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475