ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะรัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง 
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2564
ในวันเพ็ญเดือนหก (พฤษภาคม) พุทธศักราช 2500 ตามปีปฏิทินจันทรคติของไทยจะเวียนมาถึง “กึ่งพุทธกาล” หรือครึ่งหนึ่งของอายุพระพุทธศาสนา (5,000 ปี) ตามความเชื่อพื้นบ้าน
บทสัมภาษณ์
16
กันยายน
2564
"ทุกครั้งที่เกิดการรัฐประหาร มักจะตามมาด้วยระบอบเผด็จการและอำนาจอันมิชอบธรรมเสมอ..."
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
27
ธันวาคม
2563
ภาษีสรรพสามิตมิได้ทำหน้าที่แต่เพียงการสร้างรายได้ให้กับรัฐบาลเท่านั้น แต่ภาษีสรรพสามิตยังทำหน้าที่อื่น ๆ ของรัฐในการแทรกแซงทางเศรษฐกิจหรือในทางสังคม ผ่านกลไกของภาษีเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน
Subscribe to คณะรัฐประหาร