ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คลองไทย

แนวคิด-ปรัชญา
17
มีนาคม
2568
คำถามและคำตอบ ทั้งข้อเสนอ ข้อวิจารณ์ และมุมมองหลากหลาย จากงานเสวนา “อนาคตเส้นทางเศรษฐกิจ คลองไทย - คอคอดกระ - Landbridge จากวิสัยทัศน์ปรีดี พนมยงค์ สู่ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจโลกแห่งศตวรรษที่ 21”
แนวคิด-ปรัชญา
15
มีนาคม
2568
โครงการเกี่ยวเนื่องกับคลองไทย ขุดคอคอดกระ หรือ Landbridge ต้องศึกษาผลกระทบต้องรอบด้านและชัดเจน โดยควรเลือกเพียงโครงการเดียวเพราะประเทศไทยยังมีโครงการฯ อีกมากมายที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้เช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2568
การให้ความสำคัญต่อการวิเคราะห์ Mega Project ต้องสังเกตความคุ้มค่าหลายมิติที่ไม่ได้มีแค่เรื่องของตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ แต่รวมถึงภูมิรัฐศาสตร์ที่มีส่วนในการถ่วงดุลอำนาจต่อการลงทุนร่วมกันของหลายฝ่านที่ต้องคำนึงถึงบริบทอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2568
วิเคราะห์โครงการระหว่าง Landbridge กับคลองไทย เพื่อเปรียบเทียบจุดอ่อนกับจุดแข็งของทั้งสองโครงการเพื่อประเมินความคุ้มค้าด้านเศรษฐกิจ การขนส่งสินค้า และความมั่นคงระหว่างประเทศ ที่จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยจากทั้งสองโครงการ
แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2568
อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอประเด็นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ Landbridge ภายใต้ดุลยภาพแห่งอำนาจของจีนและสหรัฐอเมริกาโดยเชื่อมโยงกับข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2478 โดยเฉพาะเรื่องทุนเพื่อไม่ให้ชาติเสียเอกรราชและอธิปไตย
10
มีนาคม
2568
เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ “อนาคตเส้นทางเศรษฐกิจ คลองไทย - คลองกระ - Landbridge จากวิสัยทัศน์ปรีดี พนมยงค์ สู่ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจโลกแห่งศตวรรษที่ 21” ณ ห้อง PBIC 211 ชั้น 2 ตึก 60 ปี วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
24
กุมภาพันธ์
2565
โครงการสร้างคลองเชื่อมระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทยนั้นยังคงเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่ถูกพูดถึงอยู่ทุกสมัยตลอดเวลา และอาจจะถูกพูดถึงอีกตลอดไปเรื่อยๆ ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย
Subscribe to คลองไทย