ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ถวัติ ฤทธิเดช

แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2567
แล ดิลกวิทยรัตน์ กล่าวถึงอุดมการณ์ของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองว่าอยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย และเสนอแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ไว้ว่าต้องประกอบด้วย 3 แนวทาง คือประชาธิปไตยทางการเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยทางสังคม
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2564
‘นายถวัติ ฤทธิเดช’ กับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ คือบุคคลร่วมสมัยกัน และคนหนุ่มทั้งสองเพียรพยายามในการเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตยเฉกเช่นเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
Subscribe to ถวัติ ฤทธิเดช