ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
30
สิงหาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” สิ้นสุดลง ปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2564
แม้ว่า “มรดกคณะราษฎร” หลายอย่างจะเปลี่ยนไป แต่สิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่นั่นคือ “แนวทางการแพทย์และการสาธารณสุขสมัยใหม่”
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
Subscribe to ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์