ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย

แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2566
ปรัชญาของความรู้และความหมายของ “วิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย” ข้อควรพึงพิจารณา คำนึงถึง รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์ถึงเผด็จการและการร่างรัฐธรรมนูญปี 59-60 ที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
30
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงบทบาทแนวคิดที่หลากมิติของ 'นายปรีดี พนมยงค์' สำหรับการทำงานเพื่อรับใช้สังคมอันเป็นเจตนารมณ์ที่ได้ต่อยอดทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสันติภาพ อันเป็นหลักการที่วางรากฐานและสร้างคุณค่าให้แก่ระบอบประชาธิปไตย โดยแก่หลักสำคัญได้แก่ "ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย"
2
ธันวาคม
2565
หนังสือ ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย ผู้เขียน รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2564
เมื่อจะกล่าวถึงความคิดของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการก่อตัวของสิ่งที่ท่านเรียกว่า “จิตสำนึก”
บทสัมภาษณ์
29
กันยายน
2563
ปรัชญาทางการเมืองของข้าพเจ้า คือ สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย (Scientific Democratic Socialism) เพราะว่าประชาธิปไตยและสังคมนิยมควรมีพื้นฐานเป็นวิทยาศาสตร์
บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่ อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2563
ในวาระครบรอบ 60 ปี แห่งการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ไทย ผมใคร่จะถือโอกาสนี้เขียนถึง ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้เป็นมันสมองของคณะราษฎรในการอภิวัฒน์ครั้งนั้น 
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2563
ปรีดี พนมยงค์ ทำการอภิวัฒน์สยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ด้วยความปรารถนาจะให้ประเทศสยามในขณะนั้นได้มีประชาธิปไตยสมบูรณ์ คือประกอบไปด้วยประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ ประชาธิปไตยการเมือง และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
Subscribe to ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย