ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดีฆ่าในหลวง

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2566
ความอยุติธรรมในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 คดีดังกล่าวมิเพียงแต่สั่นสะเทือนต่อความรู้สึกของปวงชนชาวไทยในช่วงเวลานั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
9
มิถุนายน
2564
อ่าน: เอกสารคำฟ้อง (ฉบับจริง) คำฟ้อง: คดีหมายเลขดำที่ 8612/2521 เรื่อง: ละเมิดปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน หมิ่นประมาท ไขข่าว ข้อหาหรือฐานความผิด แพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง ทำให้เสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ ความเจริญและทางทำมาหาได้ของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้รับมอบอำนาจ: ปาล พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
บทสัมภาษณ์
11
พฤศจิกายน
2563
หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ ย้ายมาพำนักในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2513 ก็มีฝ่ายปรปักษ์ของเขา รื้อฟื้นเรื่องราวต่าง ๆ มาโจมตีอย่างไม่ขาดสาย และนายปรีดีก็ฟ้องจนชนะในทุกคดีความ
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทบาท-ผลงาน
5
พฤศจิกายน
2563
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงที่มาของปัญหาไว้ 3 ประการ คือ (1) ปัญหาจากระบอบอํานาจนิยม (2) ปัญหาทางเศรษฐกิจ และ (3) กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
Subscribe to ปรีดีฆ่าในหลวง