ปรีดีสาร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2567
ความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และโฮจิมินห์ ในการสนับสนุนการกอบกู้เอกราชของประเทศเวียดนาม จนนำไปสู่การประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
18
กันยายน
2565
ปรีดีสาร ฉบับพิเศษ งานรำลึก ปรีดี 66 ปี ต.ม.ธ.ก. ในโอกาส ม.ธ.ก. 70 ปี 12 มิถุนายน 2547
https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/puey039.pdf
18
กันยายน
2565
ปรีดีสาร ฉบับ 99 ปี ประดิษฐ์มนูธรรมก้าวสู่ศตวรรษแห่งสันติภาพสากล
https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook019.pdf
18
กันยายน
2565
ปรีดีสาร ฉบับ คู่มือประชาธิปไตย ทางเลือกด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมตามแนวคิดของท่านปรีดี พนมยงค์
https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook090.pdf
18
กันยายน
2565
ปรีดีสาร ฉบับวันปรีดี 11 พฤษภาคม 2544 เบื้องหลังรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 แผนทำลายธรรมศาสตร์
https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook241.pdf
18
กันยายน
2565
ปรีดีสาร ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - พฤศจิกายน - ธันวาคม 2542
https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridiarticle021.pdf
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2563
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ/ภาษา/ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ปรีดีสาร
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน
ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก
สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง