ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปวัตติยานุกรม

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2563
เป็นที่น่าเสียดายว่ากระแสประชาธิปไตยและปรีดีศึกษาที่ดูเหมือนกำลังไปได้ดีกลับถูกเหนี่ยวรั้งให้ชะลอตัวลงจากรัฐประหาร ๑๙ ก.ย.๒๕๔๙ รัฐบาลพลเรือนผ่านการเลือกตั้งต้องพ้นวงจรอำนาจไปอีกครั้ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ถูกฉีกทิ้ง พร้อมกับระบอบขุนทหารฝ่ายอนุรักษ์นิยมกลับขึ้นมามีอำนาจ บุคคลจำนวนไม่น้อยที่เคยร่วมฉลองและมีส่วนในการฟื้นภาพลักษณ์นายปรีดี พนมยงค์ เริ่มเผยทัศนคติย้อนแย้งต่ออุดมการณ์ประชาธิปไตยด้วยการหันไปสนับสนุนเผด็จการทหาร
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2563
ตอน ๖ ปรีดีอสัญกรรม พ.ศ.๒๕๒๖ ถึง งาน ๑๐๐ ปีชาตกาลท่านรัฐบุรุษอาวุโส บุคคลสำคัญองค์กร UNESCO   ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส เวลา ๑๑ นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ ๒ พ.ค.๒๕๒๖ นายปรีดีสิ้นใจอย่างสงบด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงาน สรีระของท่านได้รับการประกอบพิธีฌาปนกิจศพอย่างสมเกียรติและเรียบง่ายตามเจตนารมณ์ของผู้วายชนม์เมื่อเที่ยงของวันจันทร์ที่ ๙ พ.ค.๒๕๒๖ ณ บริเวณสุสาน Père Lachaise สถานที่สำหรับ ฝังศพบุคคลสำคัญของประเทศ เช่น Chopin, Molière, Hugo, Delacroix ฯลฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มิถุนายน
2563
“แม้กระทั่งสมณะผู้ทรงศีล ๒๒๗ นับแต่องค์สังฆปรินายกสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน ลงไปถึงพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่ ที่ได้มีโอกาสเยือนกรุงปารีส ก็ได้พบปะสนทนากับท่านปรีดีฯ” สุพจน์ ด่านตระกูล
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2563
"ทัศนะต่อท่านปรีดีจากมิตรและบุคคลที่รู้จัก" บทความนี้ผู้เขียนได้รวบรวมทัศนะของบุคคุลที่มีความผูกพันและเกี่ยวข้องกับนายปรีดีมารวบรวมไว้ ดังนี้ 1. “สุลักษณ์ ศิวรักษ์” จากปฏิปักษ์สู่กัลยาณมิตร 2. สุภาพสตรีผู้ศรัทธาในตัว ปรีดี พนมยงค์ 3. บทสัมภาษณ์นายปรีดี 'รงค์ - ตะวันใหม่ - อรุณ - ฉัตรทิพย์
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
พฤษภาคม
2563
หนังสือชีวประวัติปรีดี พนมยงค์ เล่มแรก ตีพิมพ์ปีไหน? ใครเป็นคนเขียน? มีกี่เล่มที่สำคัญ?
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤษภาคม
2563
ปฐมบท “นายปรีดี พนมยงค์ เนติบัณฑิตสยาม ดอกเตอร์อังดรัวต์และประกาศนียบัตร์ชั้นสูงในทางเอคอนอมิก...ข้าพเจ้ายิ่งฟังก็ยิ่งรู้สึกขึ้นทุกทีว่า นายปรีดี พนมยงค์ แม้พึ่งจะกลับมารับราชการในสยามก็จริง แต่เป็นผู้มีความคิดกว้างขวางรอบคอบกว่าคาดหมายมาก มิได้เปนแต่เนติบัณฑิตผู้เปรื่องด้วยนิติศาสตร์อย่างเดียว แต่เป็นผู้ที่อาจเห็นทั้งทางได้ทางเสียแห่งการใช้กฎหมายเป็นอย่างรอบคอบด้วย. เป็นเยี่ยงอย่างอันดีแก่คณครูทั่วไป.” ธานีนิวัต กระทรวงธรรมการ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๑[1]
Subscribe to ปวัตติยานุกรม