ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พรรคคอมมิวนิสต์จีน

ชีวิต-ครอบครัว
22
ตุลาคม
2566
การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของสังคมจีน ผ่านมุมมองของเด็กหญิงคนหนึ่งที่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสำคัญของประเทศ ผ่านการเดินสวนสนามในครั้งนี้ ปลายรู้สึกตื่นเต้นและภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : นักอภิวัฒน์หนุ่ม
Subscribe to พรรคคอมมิวนิสต์จีน