ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระมหากษัตริย์

แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2567
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2566
สุพจน์ ด่านตระกูล วิเคราะห์ผ่านบทความของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรืออีกนามปากกาหนึ่งคือ อิสรชน โดยวิพากษ์อคติและคำกล่าวหาของฝ่ายปฏิกิริยา อันบิดเบือนไปจากความมุ่งมาดที่แท้จริงของนายปรีดี พนมยงค์ ในการรื้อฟื้นแผนขุดคอคอดกระ อันเป็นความรุดหน้าไปนั้นดำเนินไปก็เพื่อผลประโยชน์ของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2563
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอบทเรียนจากการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยโดยคณะราษฎร ว่าสามารถนำเป็นแนวคิดสำหรับประเทศในปัจจุบันและอนาคตได้ 8 ข้อ
แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2563
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ/ภาษา/ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2563
กษิดิศ อนันทนาธร   ในห้วงบรรยากาศแห่งความร้อนแรงทางการเมืองของการ ‘รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์’ กับการ ‘ชังชาติ’  เราได้เห็นมวลอาณาราษฎรแสดงความจงรักภักดีอย่างแตกต่างกันออกไป บ้างจงรักอย่างห้อยโหน บ้างจงรักอย่างสุจริตใจ บ้างจงรักทักท้วงด้วยความปรารถนาดีที่จะให้สถาบันพระมหากษัตริย์สถิตสถาพร ยืนยงคงอยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยแห่งสยามรัฐสีมาตราบเท่ากัลปาวสาน
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ เคยแปลคำว่า ULTRA-ROYALIST ไว้ว่า ผู้เกินกว่าราชา กล่าวคือ “ปากว่าเทอดทูลพระราชาธิบดี แต่ทำแสดงว่า นิยมราชาธิปไตยยิ่งกว่าองค์ราชาธิบดี” นายปรีดีเคยยกตัวอย่างกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศสว่า ระหว่าง ค.ศ. 1789-1875 ได้มี “ผู้เกินกว่าราชา” ทำการสงวนอำนาจศักดินาไว้มากกว่าที่องค์พระราชาธิบดีปรารถนา จนเป็นเหตุให้สถาบันพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองต้องล้มไปใน ค.ศ. 1791  แม้พระราชวงศ์นั้นจะกลับมาครองราชบัลลังก์ได้อีกหลายครั้ง แต่สุดท้ายใน ค.ศ. 1875 ก็ปลาสนาการไปตราบจนปัจจุบันนี้
บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2563
ม.จ.อัปภัศราภา เทวกุล ได้เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ในช่วงนี้ไว้ได้อย่างน่าสนใจ
บทสัมภาษณ์
22
กรกฎาคม
2563
ในปี 2527 กองบรรณาธิการมติมหาราษฎร์ได้สัมภาษณ์ ม.ร.ว.เสนีย์ ในหลายประเด็น ทั้งการชิงสุกก่อนห่ามของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ความเห็นต่อเค้าโครงการเศรษฐกิจ การเกิดกบฏบวรเดช การทำงานขบวนการเสรีไทย เกร็ดเรื่องการได้รับเชิญจากนายปรีดีให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี กรณีสวรรคต รวมถึงความขัดแย้งกับนักการเมืองคนสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ อย่างนายควง อภัยวงศ์ และ ม.ร.ว.เสนีย์ เอง
Subscribe to พระมหากษัตริย์