ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาศรีสังกร

บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 4 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ลงมติเป็นเอกฉันท์ว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมไม่มีมลทินเปนคอมมิวนิสต์ดังที่ถูกกล่าวหาจากเค้าโครงการเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
บทบาท-ผลงาน
11
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 3 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ได้สอบสวนความคิดของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมโดยเน้นทางด้านโภคกิจ และโภคทรัพย์คือ การทำงาน และที่ดิน
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 2 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ได้ทำการสอบสวนความคิดของหลวงประดิษฐมนูธรรมในด้านต่าง ๆ อาทิ การเมือง การคลัง และการโภคกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กันยายน
2567
ในทศวรรษ 2470 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถูกกล่าวหาและตั้งข้อสังเกตว่าเป็นคอมมิวนิสต์ โดยต่อมาพระยาพหลพลพยุหเสนาได้เสนอนามเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาทำการสอบสวน นายปรีดี พนมยงค์ ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ แล้วให้กรรมาธิการเสนอผลการสอบสวนต่อสภาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนกฎหมายวัยเพียง 19 ปีที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและยังเรียนไม่จบ ได้ทำการขออนุญาตเป็นพิเศษต่อผู้พิพากษาเจ้าของคดี รับอาสาว่าความเป็นทนายแก้ต่างให้นายลิ่มซุ่นหงวน ในเวลานั้นได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างมาก ด้วยทนายอาสาผู้นี้นั้น ทั้งเรียนยังไม่จบและยังไม่เคยว่าความใดๆ มาเลยสักครั้งในชีวิต
ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
Subscribe to พระยาศรีสังกร