ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระสารสาสน์ประพันธ์

แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
Subscribe to พระสารสาสน์ประพันธ์