ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พิจิตต รัตตกุล

บทบาท-ผลงาน
1
กันยายน
2566
ดร.พิจิตต รัตตกุล กล่าวถึงที่มาของ “สวนเสรีไทย” จากความมุ่งหวังสำคัญเมื่อปี 2526 คือแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใหญ่และสาเหตุที่เลือกใช้ชื่อว่า “สวนเสรีไทย” เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของขบวนการเสรีไทย
16
มิถุนายน
2566
15 มิถุนายน 2566 (วานนี้) ณ ห้องสุทัศน์ ชั้น 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมประชุมหารือการจัดกิจกรรมในวาระ “78 ปี วันสันติภาพไทย ประจำปี 2566” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์และคุณูปการของวีรชนขบวนการเสรีไทยซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 16 สิงหาคม 2566 
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
สิงหาคม
2565
ความเป็นมาของสวนเสรีไทยตั้งแต่เริ่มต้นจากการเป็น "บึงตาทอง" โดยผ่านการพัฒนาตามยุคสมัยจนประสบความสำเร็จเป็น "สวนเสรีไทย" ในปัจจุบัน
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2   
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
  ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ  อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2564
ขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น และ เสรีไทยในจังหวัดตาก
Subscribe to พิจิตต รัตตกุล