ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2566
วิธีต่อสู้เผด็จการของนายปรีดี พนมยงค์ รูปแบบของเผด็จการแบบประชาธิปไตยและการเข้าสู่การเมืองในระบบรัฐสภาหลัง พ.ศ. 2557 ว่ามีคำนิยาม ทฤษฎี และคำอธิบายระบอบเผด็จการร่วมสมัยอย่างไร และปัจจุบันประเทศไทยมีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยเป็นไปในทิศทางไหนในมุมมองระหว่างประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
13
ธันวาคม
2565
เสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดีพนมยงค์ ร่วมกับ สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
11
ธันวาคม
2565
วันที่ 10 ธันวาคม (วานนี้) เนื่องในวาระ “วันรัฐธรรมนูญ” สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนาวิชาการ ภายใต้ชื่อ PRIDI Talks #18 x SDID “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”
แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2565
“ความเหลื่อมล้ำ” เป็นปัญหาสำคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาอื่นๆ ในสังคมไทย และหนึ่งในปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย คือ ปัญหาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีความสำคัญในฐานะเครื่องมือในการขยับสถานะทางสังคม
Subscribe to พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์