ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
ทัศนะต่อการรัฐประหาร 2490 และการลี้ภัยครั้งแรกไปยังสิงคโปร์และจีนของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนายปรีดีได้อธิบายการลี้ภัยไว้อย่างละเอียด ต่อมานายปรีดีได้เขียนถึงรัฐธรรมนูญฉะบับชั่วคราว 2490 ที่สะท้อนแนวคิดของฝ่ายอนุรักษนิยม
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ให้สัมภาษณ์ผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2523 เรื่องความคิดต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะการอภิวัฒน์ 2475 รัฐธรรมนูญ และการรัฐประหารหลัง 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กันยายน
2567
สาส์นของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงนายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516 อภิปรายเรื่องการเลือกตั้ง พ.ศ. 2489-2500 โดยเน้นการวิเคราะห์ไปที่การเลือกตั้ง 15 ธันวาคม 2500 โดยใช้สถิติจากหนังสือรายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทยเล่ม 2 ประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าว
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
บทสัมภาษณ์
16
กันยายน
2564
"ทุกครั้งที่เกิดการรัฐประหาร มักจะตามมาด้วยระบอบเผด็จการและอำนาจอันมิชอบธรรมเสมอ..."
ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2564
วันชื่นคืนสุขแห่งชีวิตคู่ของนายปรีดี-ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตั้งแต่บรรยากาศของพิธีมงคลสมรส ชีวิตคู่เมื่อแรกเริ่ม ชีวิตส่วนตัว และรายได้จากการหาเลี้ยงชีพ รวมถึงเกร็ดประวัติศาสตร์ต่าง ๆ 'ภาณุมาศ ภูมิถาวร' ถ่ายทอดจากคำบอกเล่าของท่านผู้หญิงพูนศุขออกมาได้อย่างแจ่มชัด
Subscribe to รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม