รัฐบาลคณะราษฎร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2565
คำบรรยายของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อปลัดจังหวัดและนายอำเภอจำนวนทั้งสิ้น 94 คน คณะผู้จัดการอบรม และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจร่วมเข้าฟัง โดยนายปรีดีได้เน้นย้ำความสำคัญของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญจะสำเร็จได้นั้น ล้วนต้องอาศัยความร่วมมือจากเหล่าข้าราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรพยายามผลักดันให้มีการวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่อย่างเป็นประชาธิปไตย จึงมุ่งเน้นกระจายอำนาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ตุลาคม
2564
ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น สังคมไทยเกิดความตื่นตัวเรื่องสิทธิและเสรีภาพมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้ปรากฏกระแสความตื่นตัวและให้ความสนใจต่อสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” ในหมู่ประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to รัฐบาลคณะราษฎร
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!