ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันแรงงาน

แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2566
ความเป็นมาของวันแรงงานสากล กับความพยายามในการขับเคลื่อนเพื่อลดชั่วโมงการทำงานของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก พร้อมคำถามและข้อฉงนระหว่างทางแห่งประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหวว่า เป้าหมายคืออะไร การบรรลุเป้าหมายมีเพียงใด ผ่านวิธีการเช่นไร ระหว่างวิถีอันสันติกับความรุนแรง และให้บทเรียนอะไรบ้าง
วันนี้ในอดีต
1
พฤษภาคม
2566
ภายหลังอภิวัฒน์สยาม 2475 ภารกิจสำคัญของคณะราษฎรในปฏิญญาว่าด้วยหลัก 6 ประการด้านเศรษฐกิจ ในข้อที่ 3 ดังความว่า “จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” อันเป็นวาระเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการแก้ไข
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
Subscribe to วันแรงงาน