ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ

บทสัมภาษณ์
29
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปีชาตกาล หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ผู้เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้ผ่านเหตุการณ์สำคัญมากมาย ที่ทำให้ชีวิตต้องพลิกผลันและได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ จนนำไปสู่การสร้างหอสมุดดำรงราชานุภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
“กบฏบวรเดช” เป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อกล่าวหาคอมมิวนิสต์ จากการทำรัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 และที่สำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ 
บทบาท-ผลงาน
20
กรกฎาคม
2564
เรื่องราวความรักของ 'มณีจันทร์' หญิงสาวผู้ที่สามารถวิ่งทะลุกาลเวลาผ่านกระจกบานใหญ่กลับไปยังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กุมภาพันธ์
2564
เนื่องในวาระเทศกาลวันแห่งความรักของเดือนกุมภาพันธ์ ถ้าจะทดลองเอ่ยถึงลักษณะการเดินทางไปทัศนาจรด้วยกันของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์อันเข้าเค้า ‘ฮันนีมูน’แล้ว ก็คงน่าสนใจไม่เบา ประกอบกับมีเกร็ดข้อมูลที่สามารถจะแจกแจงได้พอสมควร
ชีวิต-ครอบครัว
8
มกราคม
2564
ความเป็นมาของตระกูล 'ณ ป้อมเพชร์' และความสัมพันธ์ทางเครือญาติของอดีตนายกรัฐมนตรี 3 นายของไทย คือ ปรีดี พนมยงค์, ทักษิณ ชินวัตร และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2563
ความฝันถึงการมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศปรากฏขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ราวกึ่งศตวรรษ ดังมีคำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนางถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน ร.ศ. 103 เป็นตัวอย่าง
Subscribe to สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ