ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
พวงทอง ภวัครพันธุ์ สังคมไทยกับนิติรัฐที่ยังมาไม่ถึง PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า 
บทบาท-ผลงาน
19
พฤษภาคม
2564
บุคคลสำคัญหนึ่งๆ มักถูกอ้างอิงในที่สาธารณะอยู่เสมอ ความหมายต่อบุคคลก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่มากกว่านั้นคือการให้ความหมายก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่ยกเว้นแม้กระทั่ง ‘ปรีดี พนมยงค์’ ผู้อภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ซึ่งได้รับการยอมรับ และเชิดชูอย่างสูง ในหมู่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการเมืองไทยร่วมสมัย
บทสัมภาษณ์
9
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี: การต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการ คือ การต่อสู้เพื่อความเสมอภาคของประชาชน
ชีวิต-ครอบครัว
8
มกราคม
2564
ความเป็นมาของตระกูล 'ณ ป้อมเพชร์' และความสัมพันธ์ทางเครือญาติของอดีตนายกรัฐมนตรี 3 นายของไทย คือ ปรีดี พนมยงค์, ทักษิณ ชินวัตร และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
Subscribe to อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ