เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงที่มา สาเหตุ และบริบาทของการเมืองไทยยุคสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส โดยบันทึกประวัติศาสตร์ถึงนโยบายของรัฐบาล การเมืองระหว่างประเทศในขณะนั้น และกระบวนทัศน์ของตนเองต่อกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
มิถุนายน
2567
บันทึกฉบับ 6 มีนาคม 2526 ของนายปรีดี พนมยงค์ฯ แสดงสัจจะทางประวัติศาสตร์ก่อนการอภิวัฒน์ 2475 จากหลักฐานเอกสาร (authentic documents) เพื่อโต้แย้งมายาคติ 2475 ใน 2 เรื่องได้แก่ รัชกาลที่ 7 จะพระราชทานธรรมนูญฯ และกฎหมายเทศบาลเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
กุมภาพันธ์
2567
นายปรีดี พนมยงค์ได้เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในช่วงปลายเดือนมีนาคม โดยมีนโยบายที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาและปราปรามโจรผู้ร้ายในบ้านเมืองให้มีจำนวนลดน้อยลง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2565
โดยไม่ต้องรอนาน การรับรองสิทธิเลือกตั้งอย่างเท่าเทียมกันระหว่างหญิง-ชาย ก็มาถึง เมื่อ พ.ร.บ. การปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) 2475 ได้รับการประกาศใช้ สามวันหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง