ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เจ้าเพ็ดชะลาด

ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2565
  “หวอเหงียนย้าป” (VO NGUYEN GIAP) เกิดที่หมู่บ้านอานซา (AN XA) จังหวัดกว๋างบิ่นห์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1911
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว: ตอนที่ 5 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง: รัฐบาลแห่งความปรองดองแห่งชาติครั้งที่หนึ่ง “รัฐบาลผสมแห่งชาติ” เจ้ามหาอุปราชเพ็ดชะลาดผู้นำขบวนการกู้ชาติลาวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1945 (2488) ที่ถูกเจ้ามหาชีวิตถอดออกจากตำแหน่งเมื่อฝรั่งเศสกลับมายึดลาว ท่านจำต้องลี้ภัยในเมืองไทยร่วม 10 ปี จึงได้รับนิรโทษกรรมกลับคืนสู่อิสริยยศเดิม และได้เดินทางกลับลาวในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1957 (2500)
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2564
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับประธานโฮจิมินห์ที่ฮานอยเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1945 ได้สร้างความเข้าใจด้านทฤษฎี แนวทางอภิวัฒน์ ให้แก่เจ้าสุพานุวงในการกอบกู้เอกราชของชาติเป็นอย่างยิ่ง จากนั้นมาเจ้าสุพานุวงได้รับการติดอาวุธทางความคิดอันถูกต้องเพื่อเข้าสู่รูปธรรมแห่งการปฏิบัติจริง ท่านโฮจิมินห์กล่าวเน้นถึงการสร้างความสามัคคีในหมู่ชาวลาวด้วยกัน ทั้งยังต้องสามัคคีกับชาวเวียดนาม และชาวเขมรด้วย เพราะดินแดนของทั้งสามชาติตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ที่ฝรั่งเศสขนานนามว่า “อินโดจีนของฝรั่งเศส”
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2564
พญาฟ้างุ่มตั้งตัวเป็นอิสระเมื่ออำนาจการปกครองขอมอ่อนแอและกำลังดำเนินไปสู่ความเสื่อมสลาย เช่นเดียวกับอาณาจักรสุโขทัยที่ได้สถาปนาขึ้นก่อนหน้านี้
Subscribe to เจ้าเพ็ดชะลาด