ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

โมฆสงคราม

บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2566
เรื่องราวของประเทศไทยในช่วงภาวะการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยผู้เขียนได้หยิบยกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดอันร้ายแรงในการที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามอันเป็นสิ่งที่ละเมิดต่ออำนาจนิติรัฐภายในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนเล่าถึงเหตุแห่งการยกฟ้องอาชญากรสงคราม อันเป็นผลจากการตีความตัวบทกฎหมายและการบังคับใช้ ส่งผลให้คำพิพากษาคดีอาชญากรสงครามในครั้งนั้น ศาลฎีกายกฟ้องจำเลยทั้งหมด 13 คน ข้อสรุปของคำพิพากษานำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์โต้แย้งในเชิงกฎหมายและการตีความในเชิงหลักการของศาลฎีกา
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2565
'กล้า สมุทวณิช' ชวนผู้อ่านพิจารณาถึงจุดกำเนิดในการก่อร่างขององค์กรสำคัญในระบบกฎหมายไทย คือ "ศาลรัฐธรรมนูญ" ด้วยการไต่สวนและดำเนินคดีต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดที่ทำให้สยามประเทศต้องตกอยู่ในภาวะยากลำบากในสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านคดี “โมฆ (อาชญากร) สงคราม” โดยมีจำเลยคนสำคัญคือ 'จอมพล ป. พิบูลสงคราม' นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2564
'อิทธิพล โคตะมี' จะพาเราไปรู้จักกับหนังสือที่ชื่อว่า “โมฆสงคราม: บันทึกสัจจะประวัติศาสตร์ที่ยังไม่เคยเปิดเผยของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์” ซึ่งเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์จากบันทึกของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2564
ในบันทึกของรู้ทชิ้นนี้ได้กล่าวถึง "นโยบายสันติภาพของรัฐบาล" ที่ท่านเป็นผู้เขียนขึ้นและรวบรวมไว้เป็นเอกสารทางการเล่มหนึ่งที่ชื่อว่า “LE SIAM PACIFISTE” (สยามสันติภาพ)
Subscribe to โมฆสงคราม