ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

Covid-19

แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2565
ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกล่าวถึง “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” หรือ SDGs เป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปแบบของชื่อกิจกรรม งานเสวนา และการกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ ในการเปิดงานของหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐต่างๆ[1] ตามวาระและโอกาส  อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นเรื่องที่ถูกกล่าวถึงมากขึ้นในประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
21
มีนาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ นำเสนอซีรีส์บทความใหม่ที่ช่วยสรุปสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเพื่อให้ทุกท่านสามารถติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจได้สะดวกขึ้นใน "PRIDI Economic Focus พินิจเศรษฐกิจกับสถาบันปรีดี พนมยงค์" โดยในบทความแรกจะขอนำเสนอเรื่อง "วิกฤตรัสเซีย-ยูเครน และ ผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อประเทศไทย"
23
สิงหาคม
2564
เสวนาหาทางออก สิทธิมนุษยชน-วิกฤติโควิด-19 : สิทธิ หน้าที่ บทบาทของรัฐบาล รัฐสภา องค์กรอิสระ สื่อ และราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2564
ช่วงเดือนสิงหาคมจนถึงกันยายนนั้นเป็นช่วงเทศกาลพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งต้องตราให้แล้วเสร็จก่อนวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีอันเป็นวันเริ่มต้นปีงบประมาณ
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
บทสัมภาษณ์
1
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview Ep.2 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ดำเนินงานทางด้านนโยบาย ผู้หญิงยุคใหม่ที่มีแนวคิดก้าวหน้า กับการชวนคุยในเรื่อง "รัฐสวัสดิการ" และ “ความสำคัญถึงความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเป็นรัฐสวัสดิการ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มกราคม
2564
หลักภราดรภาพ คือ วิธีการและทางออกของปัญหาที่จะช่วยเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ในครั้งนี้ จากหลักคิดนี้เอง เขาเสนอว่า รัฐบาลควรที่จะปรับเปลี่ยนนโยบายที่ใช้อยู่ โดยมองถึงนโยบายระยะสั้น และระยะยาว
Subscribe to Covid-19