ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กรณีสวรรคต

แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2563
กษิดิศ อนันทนาธร   ในห้วงบรรยากาศแห่งความร้อนแรงทางการเมืองของการ ‘รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์’ กับการ ‘ชังชาติ’  เราได้เห็นมวลอาณาราษฎรแสดงความจงรักภักดีอย่างแตกต่างกันออกไป บ้างจงรักอย่างห้อยโหน บ้างจงรักอย่างสุจริตใจ บ้างจงรักทักท้วงด้วยความปรารถนาดีที่จะให้สถาบันพระมหากษัตริย์สถิตสถาพร ยืนยงคงอยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยแห่งสยามรัฐสีมาตราบเท่ากัลปาวสาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2563
สันติสุข โสภณสิริ กล่าวถึงหนังสือเล่มต่าง ๆ ของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านบทความ "ปรีดี พนมยงค์ ในแวดวงหนังสือ" ชิ้นนี้
บทสัมภาษณ์
22
กรกฎาคม
2563
ในปี 2527 กองบรรณาธิการมติมหาราษฎร์ได้สัมภาษณ์ ม.ร.ว.เสนีย์ ในหลายประเด็น ทั้งการชิงสุกก่อนห่ามของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ความเห็นต่อเค้าโครงการเศรษฐกิจ การเกิดกบฏบวรเดช การทำงานขบวนการเสรีไทย เกร็ดเรื่องการได้รับเชิญจากนายปรีดีให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี กรณีสวรรคต รวมถึงความขัดแย้งกับนักการเมืองคนสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ อย่างนายควง อภัยวงศ์ และ ม.ร.ว.เสนีย์ เอง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
กรกฎาคม
2563
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล นายกสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์" ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้เขา ตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และการลงมือทำ #จุลสารปรีดี เพื่อเผยแพร่เรื่องราวของรัฐบุรุษอาวุโส และสัจจะทางประวัติศาสตร์
บทสัมภาษณ์
7
กรกฎาคม
2563
"ควรปรับปรุง (การเผยแพร่พุทธศาสนา) ให้ทันสมัย เช่นว่า ควรจะมีเพลงทางศาสนาของพุทธศาสนาบ้าง ผมบอกว่าผมไม่มีหัวทางนี้" พระมหาเงื่อม อินทฺปญฺโญ ย้อนรำลึกถึงเรื่องที่เคยสนทนากับนายปรีดี พนมยงค์ ที่ทำเนียบท่าช้าง ใน พ.ศ. 2485 ผ่านบทสัมภาษณ์ของพระดุษฎี เมธงฺกุโร เมื่อปี 2531
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2563
มรณกรรมของ ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ณ ชานกรุงปารีส เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคมที่ผ่านมานี้ เป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของแผ่นดินไทยของประชาชนผู้รักชาติและผู้รักความเป็นธรรมทั้งปวง ที่กล่าวดังนี้ เป็นเรื่องของความรู้สึกและเป็นเรื่องของการประเมินค่า ผู้เขียนเห็นว่าย่อมจะมีคนจำนวนหนึ่งมีอารมณ์ร่วมและรู้สึกคล้อยตามเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็อาจจะมีคนจำนวนหนึ่งรู้สึกแตกต่างออกไป ภายหลังจากสำนักข่าว เอ.พี. แพร่ข่าวมรณกรรมของรัฐบุรุษอาวุโสออกไปทั่วโลก
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2563
ในระหว่างที่นายปรีดี พนมยงค์ พักอยู่ในฝรั่งเศส มิตรเก่าของท่านคนหนึ่ง คือ ลอร์ดหลุยส์ เมาท์แบ็ตแต้น เอิร์ลออฟเบอร์ม่า อดีตแม่ทัพใหญ่ภาคเอเซียอาคเณย์ของสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่สอง และอดีตอุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย ได้เชิญนายปรีดีพร้อมด้วยท่านผู้หญิงพูนศุข ให้ไปเยือนประเทศอังกฤษ
Subscribe to กรณีสวรรคต