ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กรณีสวรรคต

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
ธันวาคม
2567
ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน เล่าเรื่องชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างคุณพ่อคือ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงสนิท สวัสดิวัตน กับนายปรีดี พนมนงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ร่วมกันปฏิบัติภารกิจในขบวนการเสรีไทยเพื่อสันติภาพของประเทศ
บทสัมภาษณ์
24
กรกฎาคม
2567
บทสัมภาษณ์ประสบการณ์ของ อรุณ เวชสุวรรณ อดีตนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเดินทางไปสัมภาษณ์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ครั้งเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส ได้พูดคุยถึงประเด็นต่างๆ มากมายที่มีความเกี่ยวข้องกับอ. ปรีดีฯ
ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2567
นอกจากวิธีการตรวจสอบพยานหลักฐานแวดล้อมที่มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อยแล้ว บันทึกคำให้การประกอบสำนวนคดีของโจทก์ พยาน และจำเลย ก็มีความเป็นไปได้และความสมเหตุสมผลไม่เพียงพอเอาผิดต่อจำเลยเช่นเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2567
วิธีการสอบพยานหลักฐานแวดล้อมกรณีสวรรคต ร.8 มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อย แต่กลับสร้างบาดแผลให้กับประวัติศาสตร์ทางความรู้สึกและสร้างความสูญเสียต่อผู้บริสุทธิ์ บทความนี้จะช่วยแกะรอยและชี้แจงข้อบกพร่องดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
8
มิถุนายน
2567
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 9 รัฐบาลนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ได้แถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภา ซึ่งมีใจความสำคัญคือการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุม 12 ด้าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
มิถุนายน
2567
เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 ด้วยพระแสงปืนได้ก่อให้เกิดความสับสนในทางการเมืองอย่างมากท่ามกลางที่ประชุมรัฐสภาในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เต็มไปด้วยความคลุมเครือในการสืบพยานของคดีดังกล่าวและการสืบราชสันตติวงศ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2566
กังวาฬ พุทธิวนิช นำเสนอว่าด้วย คำถามถึงการนำคดีสวรรคตกลับมาพิจารณาใหม่ ผ่านคำอธิบายของ ศ. (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล ที่ให้ความเห็นเชิงกฎหมายและความเป็นไปได้ของการนำคดีสวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มีนาคม
2565
"รัฐบุรุษ" หรือ THE STATESMAN WEEKLY มีลักษณะเป็น “แม็กกาซีนการเมืองรายสัปดาห์ ฉบับสมบูรณ์แบบในเมืองไทย” บรรณาธิการ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา คือ เทพวิฑูร นุชเกษม จำหน่ายราคาฉบับละ 2 บาท และฉบับรำลึกท่านปรีดีนั้น วางแผงเป็นหนังสือพิมพ์ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำวันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
Subscribe to กรณีสวรรคต