ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กระทรวงยุติธรรม

แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอหลักการของนิติธรรม (Rule of law) ผ่านการประเมินตามดัชนีหลักนิติธรรม (Rule of law index) พ.ศ. 2565 จากจำนวน 142 ประเทศ โดยประเทศไทยมีคะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และชี้ให้เห็นกรณีศึกษาจากสถิติข้อมูลผู้ต้องขังทั่วไปและคดีการเมือง พ.ศ. 2563-2567
บทบาท-ผลงาน
28
มีนาคม
2567
ปรีดีพนมยงค์ทราบเรื่องร่าง พ.ร.บ. เทศบาล ในฐานะผู้ช่วยเลขานุการ แต่การพิจารณาล่าช้าด้วยความซับซ้อน ประสบปัญหาข้อขัดแย้งจากต่างประเทศ และไม่มีอำนาจกำหนดลำดับการพิจารณากฎหมายนี้
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบ 112 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เชิญชวนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่องราวชีวิตส่วนตัว ครอบครัว การใช้ชีวิตคู่หลังสมรสกับท่านปรีดี พนมยงค์ การทำงานของท่านอาจารย์ปรีดี
7
มกราคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมรับฟังแนวทางการส่งเสริมหลักนิติธรรมในเวทีสาธารณะด้านหลักนิติธรรม
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
Subscribe to กระทรวงยุติธรรม