ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จรูญ ณ บางช้าง

เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2566
อ่านประวัติศาสตร์ระหว่างบรรทัดกับเรื่องราวของ 'นายบุญเอก ตันสถิตย์' อีกหนึ่งสมาชิกสายพลเรือนที่เข้าร่วม "คณะ ร.ศ. 130" ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ห้วงวันวานคุณูปการของสมาชิกทุกคนในคณะ ร.ศ. 130 กลับประทับชัดเจนในความทรงจำของนายปรีดีในฐานะ "พวกพี่ๆ" เสมอมา
บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
Subscribe to จรูญ ณ บางช้าง