ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จักรวรรดิญี่ปุ่น

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2563
วันที่ 2 กันยายน 2488 ประธานโฮจิมินห์ได้ประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย
บทบาท-ผลงาน
26
สิงหาคม
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แม้ประเทศไทยได้รับสันติภาพกลับคืนมา แต่ปัญหาในทางเศรษฐกิจก็ยังคงดำเนินต่อไป เรื่องสำคัญประการหนึ่งที่สืบเนื่องมาจากการเจรจาเพื่อรักษาสถานะเอกราชของไทยหลังสงคราม คือ การทำความตกลงสมบูรณ์แบบอังกฤษ และการที่ไทยจะต้องส่งข้าว (โดยไม่คิดมูลค่า) 1.5 ล้านตันให้กับอังกฤษ
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
อาจารย์เออิจิ มูราชิมา นักประวัติศาสตร์ชื่อดังชาวญี่ปุ่น เปิดเผยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจว่า ในตอนที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกานั้น ฝ่ายญี่ปุ่นค่อนข้างตกใจ
แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากภยันตรายแก่ชีวิตจากสงคราม ที่มีการทิ้งระเบิดในหลายจังหวัดของประเทศไทยแล้ว ค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้นอย่างมาก (ประมาณ 10 เท่า) ทำให้ชีวิตผู้คนประสบปัญหาทางเศรษฐกิจตามไปด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
สิงหาคม
2563
"สำคัญที่เกียรติ" คือ หลักการในชีวิตของนายดิเรก ชัยนาม ผู้ก่อการ 2475 กำลังสำคัญของขบวนการเสรีไทย นักการทูตผู้โดดเด่น และนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2563
ในวาระ 75 ปี วันสันติภาพไทย (16 สิงหาคม 2488-2563) ที่จะมาถึงนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' กล่าวถึงบทบาทและความสำคัญของธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
Subscribe to จักรวรรดิญี่ปุ่น