ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชัยธวัช ตุลาธน

แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
อธึกกิต แสวงสุข เสนอบทเรียนประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวของประชาชนจาก ปี 2475-2563 และชี้ให้เห็นมุมมองและความคาดหวังต่อระบอบการปกครองที่แตกต่างกันของฝ่ายอนุรักษนิยมและฝ่ายประชาธิปไตย รวมทั้งวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่หลังปี 2563
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2567
‘ความเห็นแตกต่าง’ เป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างประชาธิปไตย และ ‘ระบอบประชาธิปไตย’ นั้น อาจเป็นโครงการที่ไม่สิ้นสุด แม้จะผลักดันให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยในแง่หลักการพื้นฐานได้แล้วก็ตาม แต่ย่อมจะเกิดความต้องการอื่นๆ ตามมาอย่างลึกซึ้งและซับซ้อนขยายจากพรมแดนแห่งหลักการพื้นฐานทางประชาธิปไตย
25
มิถุนายน
2567
ในวาระ 92 ปี อภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์จัดงานเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “เอกภาพขบวนการประชาธิปไตย สู่ ประชาธิปไตยสมบูรณ์ : จากบทเรียน 2475 สู่ อนาคต” เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณูปการของการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 และศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ผู้มีส่วนสำคัญในการอภิวัฒน์สยาม อันนำมาสู่การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
24
ธันวาคม
2566
ช่วงสุดท้ายของงานเสวนา PRIDI Talks #23 x PBIC "รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ได้ถามคำถามสำคัญแก่ผู้ร่วมเสวนาทุกท่านถึงความคาดหวังที่มีต่อข้อสรุปของคณะกรรมการฯ ประกาศจะแถลงแนวทางประชามติสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 25 ธันวาคมนี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2566
‘นายชัยธวัช ตุลาธน’ กล่าวติดตามข้อสรุปที่นายนิกรในฐานะโฆษกของคณะกรรมการที่รัฐบาลแต่งตั้งนำเสนอและการแจ้งถึงคณะกรรมการจะมีการประชุมในวันที่ 25 ธันวาคม รวมถึงกรณีการไต่สวนคดีการปกครองของพรรคก้าวไกลที่ถูกฟ้องครั้งแรก ซึ่งสะท้อนประเด็นปัญหาการเมืองของไทย
13
ธันวาคม
2566
วันที่ 10 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา เนื่องในวาระวันรัฐธรรมนูญไทย “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ PRIDI Talks #23 x PBIC : รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญใหม่เพื่อประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
Subscribe to ชัยธวัช ตุลาธน